วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556

การบวก ลบ เลขยกกำลัง


                                                การบวก  ลบ
                                                เลขยกกำลัง
                                               

1.   การบวก  ลบ  เลขยกกำลังที่มีฐานเหมือนกัน  และเลขยกกำลังเท่ากัน
ให้นำสัมประสิทธิ์ของเลขยกกำลังมาบวกลบกัน
ตัวอย่าง       
1)   
 2)
2.   การบวก  ลบ  เลขยกกำลังที่มีฐานเท่ากัน  แต่เลขยกกำลังไม่เท่ากัน
จะนำสัมประสิทธิ์มาบวก
ลบกันไม่ได้  ต้องทำในรูปของการแยกตัวประกอบ
และดึงตัวประกอบร่วมออก
ตัวอย่าง
1)                            
2)        

ตัวอย่างที่  2  จงทำให้เป็นรูปอย่างง่าย
                                
1)  
                            2)              
                 
               3)
        
                       4)     
วิธีทำ                       
1)         
                          
        2)                 
                                   3)                            
                                  4)                    
                                                                   
                                                                   
                                                                                                                       


ที่มาของวีดีโอ:http://www.youtube.com/user/golfmomo2 วันอาทิตย์ ที่ 15 กันยายน 2556
ที่มาของข้อมูล:http://www.thaigoodview.com/node/107985



การบวก ลบ คูณ หารทศนิยม

การบวก ลบ คูณ หารทศนิยม

การบวกทศนิยม

f_fish_lblue.gif     bar01_dot1x1_blue.gif    f_fish_lred.gif

             การบวกทศนิยมที่เป็นบวกคือ จัดเลขโดดที่อยู่ในหลักหรือตำแหน่งเดียวกันให้ตรงกันแล้วบวก      กัน 

            การบวกทศนิยมที่เป็นบวกด้วยทศนิยมที่เป็นบวก ให้นำค่าสัมบูรณ์มาบวกกันแล้วตอบเป็นจำนวน บวก
            การบวกทศนิยมที่เป็นลบด้วยทศนิยมที่เป็นลบ ให้นำค่าสัมบูรณ์มาบวกกันแล้วตอบเป็นจำนวน ลบ
             การบวกทศนิยมที่เป็นบวกด้วยทศนิยมที่เป็นลบ ให้นำค่าสัมบูรณ์ที่มากกว่าลบด้วยค่าสัมบูรณ์ที่
                          น้อยกว่าแล้วตอบเป็นจำนวนบวกหรือลบตามจำนวนที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า
             การบวกทศนิยมสามจำนวนบวกกันเราสามารถบวกทศนิยมคู่แรกหรือคู่หลังก่อนก็ได้โดยที่ผลลัพธ์สุดท้าย
                          ยังคงเท่ากัน

 การลบทศนิยม

   a_pig01_coral.gif  bar02_dot1x1_red_1.gif  a_pig01_pink.gif

            ถ้า a เป็นทศนิยมใดๆ จำนวนตรงข้ามของ a มีเพียงจำนวนเดียวเขียนแทนด้วย –a และ  a+ (-a ) =(-a)+a = 0
             ถ้า a เป็นทศนิยมใดๆ จำนวนตรงข้ามของ -a มีเพียงจำนวนเดียวเขียนแทนด้วย –(–a) = a        
                การลบทศนิยมทำได้โดยมีหลักดังนี้  ตัวตั้ง -  ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำนวนตรงข้ามของตัวลบ


การคูณทศนิยม

house03_blueroof.gif bar01_dot1x1_blue_4.gifhouse03_redroof.gif

        การคูณทศนิยมที่เป็นบวกมีวิธีเช่นเดียวกันกับการคูณจำนวนเต็มบวกแล้วใส่จุดทศนิยมให้ถูกที่ คือ ถ้าตัวตั้งเป็นทศนิยมที่มี a ตำแหน่งตัวคูณเป็นทศนิยมที่มี b ตำแหน่ง ผลคูณจะเป็นทศนิยมที่มี a + b ตำแหน่ง
       การคูณทศนิยมที่เป็นบวกด้วยทศนิยมที่เป็นบวก จะได้คำตอบเป็นทศนิยมที่เป็นบวกและมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น
        การคูณทศนิยมที่เป็นลบด้วยทศนิยมที่เป็นลบจะได้คำตอบเป็นทศนิยมที่เป็นบวกและมี่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น
      การคูณทศนิยมที่เป็นบวกด้วยทศนิยมที่เป็นลบจะได้คำตอบเป็นทศนิยมที่เป็นลบและมีค่าสัมบูรณ์เท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น

                                                    การหารทศนิยม

                                               house18_summer_1.gif  bar01_dot1x1_blue_9.gif  house18_spring_1.gif
    bar01_dot1x1_blue_9.gif                     การหารทศนิยมด้วยทศนิยมที่เป็นการหารลงตัว เราใช้การคูณช่วยคำนวณดังนี้ตัวการ x ผลหาร = ตัวตั้งหลักเกณฑ์การหารทศนิยมโดยใช้ค่าสัมบูรณ์มีดังนี้นำค่าสัมบูรณ์ของตัวตั้งและค่าสัมบูรณ์ของการหารมาหารกันแล้วพิจารณาดังนี้1)  ถ้าทั้งตัวตั้งและตัวหารเป็นทศนิยมที่เป็นบวกทั้งคู่หรือทศนิยมที่เป็นลบทั้งคู่ จะได้คำตอบเป็นทศนิยมที่เป็นบวก2)  ถ้าทั้งตัวตั้งและตัวหารตัวใดตัวหนึ่งเป็นทศนิยมที่เป็นลบโดยอีกตัวหนึ่งเป็นทศนิยมที่เป็นบวกจะได้คำตอบเป็นทศนิยมที่เป็นลบ

ที่มาของวีดีโอ:www.youtube.com/user/aekthaweewit วันอาทิตย์ ที่ 15 กันยายน 2556 
ที่มาของข้อมูล:http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/utaradit/srinuan-s/sec05p01.html

การบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน


การบวก ลบ คูณ หารเศษส่วน

การบวกเศษส่วน

วิธีการหาผลบวกของเศษส่วน สามารถทำได้ดังนี้


·         หา ค.ร.น.ของตัวส่วน
·         ทำเศษส่วนแต่ละจำนนวนให้มีตัวส่วนเท่ากัน ค.ร.น.ที่หาได้จากข้อ 1
·         บวกตัวเศษเข้าด้วยกันโดยที่ตัวส่วนยังคงเท่าเดิม




การลบเศษส่วน
การลบเศษส่วน ใช้หลักการเดียวกันกับการลบจำนวนเต็ม คือ
ตัวตั้ิง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำนวนตรงข้ามของตัวลบ




การคูณเศษส่วน
จำนวนเต็มคูณเศษส่วน หมายถึง การบวกเศษส่วนที่มีค่าเท่าๆกันหลายๆค่า 
เศษส่วนคูณจำนวนเต็ม หมายถึง เศษส่วนของจำนวนเต็ม
เศษส่วนคูณเศษส่วนหมายถึงการแบ่งเศษส่วนออกเป็นส่วนเท่าๆกันว่ามีค่าเป็นเศษส่วนเท่าไรของทั้งหมด 



การหารเศษส่วน

1 การหารจำนวนเต็มด้วยเศษส่วน หมายถึง การแบ่งจำนวนเต็มออก เป็นส่วนย่อยเท่าๆกันจะได้กี่ส่วน

2 การหารเศษส่วนด้วนจำนวนเต็ม หมายถึง การแบ่งเศษส่วนที่มีอยู่ออกเป็นส่วนเท่าๆกัน

3 การหารเศษส่วนด้วนเศษส่วน หมายถึง การแบ่งเศษส่วนออกเป็นส่วนเท่าๆกัน หาคำตอบได้จากการคูณเศษส่วนที่เป็นตัวตั้งกับส่วนกลับของเศษส่วนที่เป็นตัวหาร 



ข้อควรจำ

การทำโจทย์ที่มีการบวก ลบ คูณ หาระคนกัน ให้ทำตามลำดับขั้นตอนดังนี้

1. ตัวเลขที่อยู่ในเครื่องหมายวงเล็บต้องทำก่อนอย่างอื่น

2. คำว่า "ของ" หมายถึงการคูณ

3. คูณ หาร ทำพร้อมกันได้

4. บวกลบทำพร้อมกันได้

5. ต้องทำคูณหารก่อนบวกลบเสมอ


การบวกและการลบทศนิยม


ที่มาของวีดีโอ:http://forum.kaamania.com/webboard/index.php?board=9.0 วันอาทิตย์ ที่ 15 กันยายน 2556
ที่มาของข้อมูล: www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/239-00/


การหา ค.ร.น.



การหา ค.ร.น.

1. แยกตัวประกอบของแต่ละจำนวน
2. ตรวจดูเฉพาะตัวที่เหมือนกันทุกบรรทัด แล้วชักมาตัวเดียว แล้วคูณกัน
ตัวอย่าง หา ห.ร.ม. ของ 24, 36, 43
24 = 2 x 2 x 2 x 2 x 3
36 = 2 x 2 x 3 x 3
43 = 2 x 2 x 2 x 2 x 3
ดังนั้น ห.ร.ม. คือ 2 x 2 x 3 = 12
การหา ค.ร.น.
1. แยกตัวประกอบของแต่ละจำนวน
2. พิจารณาตัวที่เหมือนกันเอามาตัวเดียว ตัวที่ต่างกันหมดเอามาทุกตัวแล้วนำมาคูณกัน
ตัวอย่าง หา ค.ร.น. ของ
6, 12, 24
6 = 3 x 2
12 = 3 x 2 x 2
24 = 3 x 2 x 2 x 2
เอาตัวกรอบซึ่งมีเลข 3, 2, 2 ส่วนนอกนั้นเอามาทุกตัวคือ 2 แล้วนำมาคูณกัน จะได้
3 x 2 x 2 x 2 = 24 ความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 1. ถ้า a, b เป็นจำนวนเต็มบวก และ c
เป็น ห.ร.ม. ของ a, b จะได้ว่า ค.ร.น. ของ a และ b เท่ากับ ab หรือท่องว่า ห.ร.ม. x ค.ร.น. = เลข 2
จำนวนนั้นคูณกัน
ตัวอย่างจำนวนนับสองจำนวนมีผลคูณเท่ากับ 80 และมี ห.ร.ม.เท่ากับ 2 จงหา ค.ร.น.ของจำนวนทั้งสอง วิธีทำ ห.ร.ม. x ค.ร.น. =เลข 2 จำนวนคูณกัน 2 x ค.ร.น. = 80

                                      
  ที่มาของวีดีโอ:http://www.matheazy.com/ วันอาทิตย์ ที่ 15 กันยายน 2556
  ที่มาของข้อมูล: www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=44628


การหา ห.ร.ม.




สมมุติว่าเรามีตัวเลขจำนวนเต็มบวกสองตัว a และ b เราจะหาตัวหารร่วมได้อย่างไร
ถ้าสมมุติให้ d เป็นตัวหารร่วม d หาร a ได้ลงตัว
d หาร b ได้ลงตัว


     การหาตัวหารร่วมมากมี 3 วิธี คือ การหา ห.ร.ม. โดยพิจารณาจากตัวประกอบ การแยก ตัวประกอบ และการหารสั้น

      1. การหา ห.ร.ม. โดยพิจารณาตัวประกอบ

     พิจารณาตัวประกอบของ 12 และ 18
   ตัวประกอบร่วมของ 12 และ 18 ได้แก่ 1,2,3,6
    - ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด ได้แก่ 6
    - เรียกตัวประกอบร่วมที่มากที่สุดว่า ตัวหารร่วมมาก
    - ดังนั้น 6 เป็นตัวหารร่วมมากของ 12 และ 18
    - หรือ 6 เป็น ห.ร.ม. ของ 12 และ 18

    ห.ร.ม. ของ 16 และ 36 พิจารณาได้ดังนี้
    - ตัวประกอบของ 16 ได้แก่ 1 , 2 , 4 , 8 , 16
    - ตัวประกอบของ 36 ได้แก่ 1 , 2 , 3 , 4 , 6 , 9 , 12 , 18 , 36
    - ตัวประกอบร่วมของ 16 และ 36 ได้แก่ 1, 2, 4
    - ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด ได้แก่ 4
    - เรียกตัวประกอบร่วมที่มากที่สุดว่า ตัวหารร่วมมาก
    - ดังนั้น 4 เป็นตัวหารร่วมมากของ 16 และ 36
    - หรือ 4 เป็น ห.ร.ม. ของ 16 และ 36
        ตัวอย่างที่ 1 จงหา ห.ร.ม. ของ 39 และ 65
     วิธีทำ - ตัวประกอบของ 39 ได้แก่ 1 , 3 , 13 , 39
           - ตัวประกอบของ 65 ได้แก่ 1 , 5 , 13 , 65
           - ตัวประกอบร่วมของ 39 และ 65 ได้แก่ 1, 13
            - ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุดของ 39 และ 65 ได้แก่ 13
             - ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 39 และ 65 คือ 13
        ตัวอย่างที่ 2 จงหา ห.ร.ม. ของ 60, 78 และ 96
     วิธีทำ - ตัวประกอบของ 60 ได้แก่ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 10 , 12 , 15 , 20 , 30 , 60
           - ตัวประกอบของ 78 ได้แก่ 1 , 2 , 3 , 6 , 13 , 26 , 39 , 78
           - ตัวประกอบของ 96 ได้แก่ 1 , 2 , 3 , 4 , 6 , 8 , 12 , 16 , 24 , 32 , 48 , 96
           - ตัวประกอบร่วมของ 60, 78 และ 96 ได้แก่ 1, 2, 3, 6
           - ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุดของ 60, 78 และ 96 ได้แก่ 6
           - ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 60, 78 และ 96 คือ 6
.
    2. โดยการแยกตัวประกอบ มีวิธีการดังนี้

          (1) แยกตัวประกอบของจำนวนทุกจำนวนที่ต้องการหาร ห.ร.ม.
          (2) เลือกตัวประกอบที่ซ้ำกันของทุกจำนวนมาคูณกัน
          (3) ห.ร.ม. คือ ผลคูณทุกตัว
     เลือกตัวที่ซ้ำกัน ที่อยู่ทั้ง 56 84และ 104 ตัวทีซ้ำกันเอามาซ้ำละ 1 ตัว
     คือ มีเลข 2 เลข 2 และ เลข 7
    
    3. การหารสั้น มีวิธีการดังนี้

        1) นำจำนวนทั้งหมดที่ต้องการหา ห.ร.ม. มาเขียนเรียงกัน
        2) หาจำนวนเฉพาะที่สามารถหารจำนวนทั้งหมดได้ลงตัวมาหารไปเรื่อยๆ จนกว่าไม่สามารถหาได้
        3) นำตัวหารทุกตัวที่ใช้มาคูณกัน เป็นค่าของ ห.ร.ม.

        ตัวอย่าง จงหา ห.ร.ม. ของ 56 84 และ 140
       วิธีทำ  
                       2) 56 84 104
                       2) 28 42 70
                       7) 14 21 35
                            2 3 5
           ห.ร.ม. คือ 2 x 2 x 7 = 28




ที่มาวีดีโอ:   www.youtube.com/watch?v=4yaLKqxs_JI วันอาทิตย์ ที่ 15 กันยายน 2556
                  ที่มาของข้อมูล:  www.krudung.com/webst/2552/501/34/a4.html

วันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2556

เลขยกกำลัง
ความหมาย
การยกกำลัง   (อังกฤษ:Exponentiation)   คือ การดำเนินการทางคณิตศาสตร์อย่างหนึ่งเขียนอยู่ในรูป    ซึ่งประกอบด้วยสองจำนวน  คือ  ฐาน  และ  เลขชี้กำลัง โดยพื้นฐานแล้วการยกกำลังจะมีความหมายเหมือนกับการคูณ ซ้ำๆเป็นจำนวน  ตัว  เมื่อเป็นจำนวนเต็มบวก  โดยปกติเลขชี้กำลังจะแสดงให้เห็นเป็นตัวยกทางขวาของฐาน จำนวน อ่านว่า  ยกกำลัง  หรือ  เพียงแค่  กำลัง ในภาษาอังกฤษอาจเรียกการยกกำลังบางตัวต่างออกไป  เช่น  จะเรียกว่า  square และ    เรียกว่า cube เป็นต้น

จุดประสงค์การยกกำลัง
บอกบทนิยาม ฐาน และ เลขชี้กำลัง ของเลขยกกำลังได้
                 หาผลคูณของเลขยกกำลังที่มีฐานเท่ากัน และมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก
                 หาผลหารของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวกได้
                 หาเลขยกกำลังที่มีฐานในรูปการคูณ ที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก
 เขียนตัวเลขให้อยู่ในรูปจำนวนนับที่น้อยที่สุด คูณกับเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นสิบได้
 เขียนจำนวนคัวเลขให้อยู่ในรูป A x 10   เมื่อ 1  A < 10 และ n เป็นจำนวนเต็ม


 สมบัติของเลขยกกำลัง
   ถ้า  a  เป็นจำนวนใด ๆ  m   และ   n   เป็นจำนวนเต็มบวกแล้ว 
                    am x an = am+n               ฐานเดียวกัน กำลังคูณกัน  ได้ กำลังบวก
                         (am )n = amn                     ยกกำลังอยู่ด้านนอกคูณเข้าในได้
                         (ab)n = an bn                   ยกกำลังอยู่ด้านนอกคูณเข้าในได้




เทคนิควิธีคิดเลขยกกำลังสอง

 ที่มา  http://www.youtube.com/watch?v=ll9UbrWKO9E 8 กันยายน 2556